วันอังคารที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2558

เทคนิคการสอบ การวิจัย

โครงสร้างวิจัย 3 บท
ประกอบด้วย 3 บท
ประกอบด้วยทุก ๆ ประเด็นในแต่ละบท
-------------------------------------------------------------------------
ระบุชื่อวิจัยให้ชัดเจน
สมมติ "ผลกระทบที่เกิดจากการเป็นเกย์ของนิสิตผู้ชาย RBAC"
--------------------------------------------------------------------------
บทที่ 1
1.ความสำคัญของปัญหา
1.จากจุดใหญ่
2.ดึงไปภาพรวม
3.สรุปถึงปัญหาความจำเป็นและต้องการ
หรือเขียน 1.ภาพรวม 2.ภาพกว้าง 3.จำเป็นและต้องการ
จำกัดประมาณ 5-7 บรรทัด
------------------------------------------------------------------------
2. วัตถุประสงค์
บอกถึงว่าวิจัยเราจะทำอะไร อย่างชัดเจน ???
1. ศึกษาเรื่อง ทั่วไปหรือภาพรวมของการวิจัย
เช่น "เพื่อศึกษาถึงพฤติกรรมที่เกิดจากการเป็นเกย์ของนิสิตผู้ชาย RBAC
2. ศึกษาเพื่อพัฒนา นำไปศึกษา หรือ นำผลการศึกษาที่ได้นำไปพัฒนา
เช่น "เพื่อศึกษาระดับผลกระทบที่เกิดจากการเป็นเกย์ของนิสิตผู้ชาย RBAC"
-------------------------------------------------------------------------
3. สมมติฐานการวิจัย
เขียนเพื่อคาดหวังผลการศึกษาล่วงหน้า แต่ต้องล้อหรือสอดคล้องกับการวิจัย
ตัวอย่าง ระดับผลกระทบที่เกิดจากการเป็นเกย์ของนิสิตผู้ชาย RBAC อยู่ใน "ระดับมากที่สุด"
---------------------------------------------------------------------------
4.ขอบเขต
4.1ขอบเขตด้านเนื้อหา (C)
ศึกษาเรื่องอะไร ศึกษาเรื่องระดับ
เล่นเนื้อหาแค่เรื่องระดับความพึงพอใจ
เช่น ศึกษาผลกระทบที่เกิดจากการเป็นเกย์ของนิสิตผู้ชาย RBAC
4.2 ขอบเขตด้านประชากร (P)
ประชากร ( ระบุภาพรวมของประชากร หรือ N )
ทำวิจัยเด็ก RBAC ก็ใส่ นิสิตมหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต
ทำวิจัยประชาชน กทม. ก็ใส่ ประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร
"ไม่ต้องใส่กลุ่มเป้าหมาย" และ "ไม่ต้องใส่จำนวน"
4.3 ขอบเขตพื้นที่
ระบุไปเลยศึกษาเกี่ยวกับใคร ก็ใส่ที่นั้น
ทำวิจัยเด็ก RBAC ก็ใส่ มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต
ทำวิจัย สัปเร่อ ก็ใส่ วัดหรือป่าช้า
4.4 ขอบเขตระยะเวลา
สมมุติได้ค่ะ ไม่ต้องซีเรียส (พ.ย. 58 - ก.พ. 60) (สมมติได้)
แต่ไม่ควร 2 ปี ขึ้นไป
---------------------------------------------------------------------------
5.ประโยชน์หรือผลที่คาดว่าจะได้รับ
ศึกษาเรื่องระดับ
1.รู้ถึงอะไร ในเรื่องที่ทำ
2.คุณเอาเรื่องที่ศึกษาไปทำอะไรต่อ
(นำผลที่ได้ไปทำอะไร ข้อเสนอแนะ แลกเปลี่ยนหรือปรับปรุงอะไร)
-----------------------------------------------------------------------
นิยามศัพท์เฉพาะ
นิยามหรือให้ความหมายคำศัพท์ในวิจัย
ที่มีความตายตัว เฉพาะเจาะจง
ชื่อเรื่อง ระดับผลกระทบที่เกิดจากการเป็นเกย์ของนิสิตผู้ชาย RBAC
1. ระดับผลกระทบ
2. ผลกระทบ
3. การเป็นเกย์ หรือ เกย์
4. นิสิตผู้ชาย
5. RBAC
-------------------------------------------------------------------------
กรอบแนวคิด
สำหรับวิจัย
ปัจจัยส่วนบุคคล + ผลที่จะศึกษา
(ประเภท วัดระดับ ความพึงพอใจ วัดระดับ ทัศนคติ
และวัดระดับอื่น ๆ)
ตัวแปลต้น : ปัจจัยส่วนบุคคล เช่น อายุ เพศ ชั้นปี รายได้
ตัวแปลตาม : ผลที่จะศึกษา
เช่น ความนิยม หรือ เรตติ้ง ของอะไรที่จะศึกษา
หรือ ระดับความพึงพอใจของ ........
ระดับทัศนคติของ .............
---------------------------------------------------------------------------
---------------------------------------------------------------------
บทที่ 2
ใส่ แนวคิด ทฤษฎี และ หลักการ (สิ่งที่เกี่ยวข้อง)
ความสำคัญบทที่ 2 เป็นเนื้อหาเชิงวิชาการ ให้งานวิจัยสร้างความกรอบแนวคิดและสร้างแบบสอบถาม
-------------------------------------------------------------------
บทที่ 3
3.1รูปแบบของการวิจัย
เป็นวิจัย เชิงสำรวจ
เก็บข้อมูล เชิงปริมาณ
คือ การสำรวจข้อมูล แจกแบบสอบถาม เอาผลงานมาแปลผล
จะเป็นเชิงประมาณ
-------------------------------------------------------------------------
3.2 กลุ่มเป้าหมาย
"ประชากร" คือใคร มีเท่าไหร่
"กลุ่มตัวอย่าง" คือใคร ได้มาอย่างไร ใช้การสุ่มแบบไหน
(ได้มาจากการเปิดตารางตัวอย่างของแคสซี่ มอร์แกน)
**** ขั้นต่ำในการเก็บข้อมูลไม่น้อยกว่า 30 ชุด ตามหลักการวิจัย
ความคาดเคลื่อนไม่เกิน 5% ****
"Nn" N คือประชากร n คือ กลุ่มตัวอย่าง
การสุ่มตัวอย่าง "ห้ามสุ่มอย่างง่าย"
การสุ่ม มี 5
1.วิธีสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple random sampling)
2.วิธีสุ่มตัวอย่างแบบเป็นระบบ (Systematic random sampling)
3. วิธีสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น (Stratified random sampling)
4. วิธีสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม (Cluster sampling)
5. วิธีสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage sampling)
**** ขั้นต่ำในการเก็บข้อมูลไม่น้อยกว่า 30 ชุด ตามหลักการวิจัย
ความคาดเคลื่อนไม่เกิน 5% ****
--------------------------------------------------------------------------
3.3 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา "แบบสอบถาม"
--------------------------------------------------------------------------
3.4 การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา
1. ศึกษา ทบทวน เอกสารที่เกี่ยวข้องภายใต้กรอบแนวคิด ทางการศึกษา
2. ร่างและออกแบบ แบบสอบถามและข้อคำถาม เสนออาจารย์พิจารณา
3. แก้ไข ตรวจสอบคุณภาพของแบบสอบถาม ข้อคำถามกับนิยามศัพท์เฉพาะ ตามกรอบแนวคิดการศึกษา
--------------------------------------------------------------------------
3.5 การเก็บรวบรวมข้อมูล
1. เก็บอย่างไร
2. เอกสารแจกใคร
3. แจกแบบไหน (สุ่มจากอะไร)
----------------------------------------------------------------------------
3.6 การวิเคราะห์ข้อมูล
(ประเภท วัดระดับ ความพึงพอใจ วัดระดับ ทัศนคติ
และวัดระดับอื่น ๆ)
1. การวิเคราะห์ข้อมูลปัจจัยพื้นฐาน หรือ ปัจจัยส่วนบุคคล
ใช้สถิติ แจกแจงความถี่ กับ ร้อยละ (Percentage)
2. การวิเคราะห์ข้อมูลระดับ ......"ระดับผลกระทบที่เกิดจากการเป็นเกย์"................
ใช้สถิติ ค่าเฉลี่ย (Mean)
และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
-----------------------------------------------------------------------------
3.7 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
1. การวิเคราะห์ข้อมูลปัจจัยพื้นฐาน หรือ ปัจจัยส่วนบุคคล
ใช้สถิติ แจกแจงความถี่ กับ ร้อยละ (Percentage)
2. การวิเคราะห์ข้อมูลระดับ ......"ระดับผลกระทบที่เกิดจากการเป็นเกย์"..........
ใช้สถิติ ค่าเฉลี่ย (Mean)
และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
--------------------------------------------------------------------------
-----------------------------------------------------------------------
2. การอ่านค่าใต้ตราง บทที่ 4
การสรุปผลการวิจัย และ การอภิปรายผลการวิจัย บทที่ 5
(10 คะแนน)
เทคนิคนี้ เอาแค่ความถูกต้องของหลักการ เท่านั้น ..... !!
----------------------------------------------------------------------
บทที่ 4 การอ่านค่าใต้ตาราง
การอ่านค่าใต้ตาราง ไม่ว่าจะเป็นตารางเดียวไม่มีหัวข้อย่อย หรือตารางเดียว มีหัวย่อยแตกแยกไปอีก
หลักในการอ่าน .....
1. อ่านทุกคำ ทุกค่า ค่าแจกแจงค่าถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
2. อ่านจาก ค่ามากที่สุด ไปหาค่าหน่อยที่สุด
-------------------------------------------------------------------------
บทที่ 5 การสรุปผลการวิจัย และ การอภิปรายผลการวิจัย
การสรุปผลการวิจัย
วิธีการทำ
1. ทำเหมือนการ อ่านค่าใต้ตาราง
2. เรียงจากมากที่สุด ไปน้อยที่สุด 3 ค่าหรือ 3 ข้อพอ
3. "ไม่ใส่ค่าตัวเลข" ไม่ใส่ค่าร้อยละ"
------------------------------------------------------------------------
การอภิปรายผล
หลักการเขียนอภิปรายผล เหมือน เรียงความ
เริ่มจาก "ผลการศึกษา" (อาจารย์มีให้)
ร้อยเรียง เชื่อมด้วย "หลักการ แนวคิดทฤทษฎี "ที่เกี่ยวข้องจริง ๆ กับเรื่องนั้น" (อาจารย์มีให้)
ปิดท้ายด้วย แนวคิดและเหตุผลของตนเอง "อย่างเป็นทางการ"
ห้าม ใช้ความคิด "บ้านนอก" (ใช้สองคิดเองอาจารย์ไม่มีให้)
--------------------------------------------------------------------------

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น